ปางห้ามสมุทร เป็นอิริยาบถตอนที่พระพุทธองค์เสด็จดำเนินไปยังสำนักงานชฏิล 3 คนพี่น้องกับหมู่ศิษย์บริวารริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา คราวนั้นได้เกิดฝนตกหนักน้ำป่าไหลบ่าท่วมทั่วแผ่นดิน แต่พระพุทธองค์สามารถเสด็จจงกรมอยู่ได้ในกลางแจ้งท่ามกลางสายฝนโดยไม่เปียก คนทั้งหลายเป็นอันมากจึงเกิดอัศจรรย์ใจในการที่พระพุทธองค์ทรงห้ามลมฟ้ามหาสมุทรได้จึงยอมอ่อนน้อมต่อพระองค์และได้บรรพชามากถึง 1,000 คน ลักษณะของปางห้ามสมุทร มักทำเป็นพระพุทธรูปประทับยืนทรงยกพระหัตถ์ทั้งสองแบตั้งขึ้นเสมอพระอุระ พระไม้ปางนี้ยังนิยมสร้างเป็นพระบูชาสำหรับผู้ที่เกิดวันจันทร์อีกด้วย
ปางพิศดาร
ขนาดความกว้างไหล่ 3.5 ซ.ม.
ขนาดหน้าตัก 4 ซ.ม.
ความสูง 14.5 ซ.ม.
ความกว้างฐาน 4 ซ.ม.
ลักษณะ แกะไม้
แหล่งที่มา –
เจ้าของ ศูนย์วัฒนธรรม
ปางพิศดาร
ขนาดความกว้างไหล่ 3.8 ซ.ม.
ขนาดหน้าตัก 5.9 ซ.ม.
ความสูง 16.8 ซ.ม.
ความกว้างฐาน 6.4 ซ.ม.
ลักษณะ นั่ง แกะสลักบนแผ่นไม้
แหล่งที่มา –
เจ้าของ ศูนย์วัฒนธรรม
ปางพิศดาร
ความสูง –
ความกว้าง –
ลักษณะ นั่ง พระแกะสลักบนเขาควาย จำนวนทั้งหมด 5 องค์ แต่ละองค์มีกิริยาบถและปางที่แตกต่างกัน
แหล่งที่มา –
เจ้าของ ศูนย์วัฒนธรรม
ปางพิศดาร
ขนาดหน้าตัก 5 ซ.ม.
ความสูง 20 ซ.ม.
ความกว้างฐาน 6 ซ.ม.
ลักษณะ นั่งพิงกัน 2 องค์ ไม้แกะสลัก ฐานสี่เหลี่ยม
แหล่งที่มา –
เจ้าของ ศูนย์วัฒนธรรม
ปางพิศดาร
ขนาดความกว้างไหล่ 6.5 ซ.ม.
ขนาดหน้าตัก 8 ซ.ม.
ความสูง 25.5 ซ.ม.
ความกว้างฐาน 6.5 ซ.ม.
ลักษณะ นั่ง ฐานลายพื้นบ้าน ด้านหลังมีรอยแตกตั้งแต่เกศเกศาลงมาจนถึงฐาน
แหล่งที่มา –
เจ้าของ ศูนย์วัฒนธรรม